Academic Journal

การทำนายพฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีตผสมเศษคอนกรีตเก่ารับแรงเฉือนด้วยโปรแกรมประมวลผลภาพถ่าย WU-DICEstimation of Shear Behaviour for Recycled Aggregate Concrete using Digital Image Correlation (WU-DIC)

التفاصيل البيبلوغرافية
العنوان: การทำนายพฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีตผสมเศษคอนกรีตเก่ารับแรงเฉือนด้วยโปรแกรมประมวลผลภาพถ่าย WU-DICEstimation of Shear Behaviour for Recycled Aggregate Concrete using Digital Image Correlation (WU-DIC)
المؤلفون: Kanhakorn, Paradorn, Rerksamosorn, Watanee, Rerksamosorn, Witsaruta, Inmontien, Norrasing, Imjai, Thanongsak, Setkit, Monthian, Tippakdee, Suppachai, Wattanapanich, Chirawat
المساهمون: Walailak University
المصدر: วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (The Journal of King Mongkut's University of Technology North Bangkok); Vol 33, No 2 (2023): April-June; 355-368 ; 2985-2145 ; 2985-2080
بيانات النشر: The Journal of King Mongkut's University of Technology North Bangkok
سنة النشر: 2022
المجموعة: Online Journal System of KMUTNB / วารสารวิชาการออนไลน์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
مصطلحات موضوعية: เศษคอนกรีตเก่า, การประมวลผลภาพถ่าย, ตัวอย่าง Z-push off, พฤติกรรมแรงเฉือน, ไฟไนต์อิลิเมนต์Recycled Concrete Aggregate, Digital Image Correlation, Z-push Off, Shear Behaviour, Finite Element Analysis
الوصف: การรื้อถอนโครงสร้างอาคารคอนกรีตเก่าและนำเศษคอนกรีตที่ย่อยแล้วมาใช้ทดแทนมวลรวมหยาบในส่วนผสมคอนกรีตสำหรับงานโครงสร้าง เช่น คาน หรือ พื้น ซึ่งต้องศึกษาพฤติกรรมการรับแรงประเภทต่างๆ เช่น แรงดัด แรงเฉือน แรงอัด หรือ แรงบิด เป็นต้น กรณีการออกแบบโครงสร้างคาน มักป้องกันโครงสร้างมิให้เกิดการวิบัติภายใต้แรงเฉือนหรือแรงบิด ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมของแรงเฉือนของส่วนผสมคอนกรีตดังกล่าว ต้องอาศัยอุปกรณ์ทางเทคนิคที่มีความสามารถตรวจจับการวิบัติของแรงเฉือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ทำการศึกษาประสิทธิภาพของเทคนิคประมวลผลภาพถ่ายแบบไม่สัมผัสกับตัวอย่างทดสอบที่ใช้การประมวลผลของภาพของพื้นผิวของวัตถุ เรียกว่า วิธีดิจิทัลอิมเมจคอร์รีเลชั่น โดยการกำหนดจุด Pixel จากการพ่นสีที่พื้นผิวของวัตถุ ซึ่งพิกัดของจุดจะใช้อ้างอิงก่อนและหลังการเสียรูป รูปแบบการกระจายตัวของจุดในระนาบสองมิติจะถูกระบุค่าพิกัดเริ่มต้นจากภาพแรก ในการทำนายพฤติกรรมแรงเฉือนของคอนกรีตผสมเศษคอนกรีตเก่า สำหรับตัวอย่างรูปทรง Z โดยนำผลการทดสอบที่ได้จากอุปกรณ์ตรวจวัดแบบดั้งเดิม มาเปรียบเทียบกับวิธีดิจิทัลอิมเมจคอร์รีเลชั่น เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการตรวจวัดการเสียรูปจากแรงเฉือน พบว่าผลการตรวจวัดการเสียรูปนั้นมีความคลาดเคลื่อนประมาณร้อยละ 4-6 และผลที่ทดสอบนำมาเปรียบเทียบกับสมการที่เป็นมาตรฐานในปัจจุบัน พบว่าค่าหน่วยแรงเฉือนที่ได้จากการทำนายโดยสมการ Vecchio and Collin ให้ผลการคำนวณใกล้เคียงกับผลการทดสอบมากที่สุด จากการศึกษาวิจัยนี้พบว่าการประมวลผลการเสียรูปโดยภาพถ่าย มีความคลาดเคลื่อนน้อย สามารถตรวจวัดการเสียรูปในแนวระนาบของพื้นผิวตัวอย่างแบบสองมิติได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อเทียบกับการตรวจวัดโดยการใช้อุปกรณ์วัดแบบดั้งเดิมภายใต้การวิบัติแบบแรงเฉือนWhen using waste demolition such as recycled aggregates, it is important to investigate compressive behavior such as flexural strength, shear strength, and torsional strength, etc. On the design of beam structure, the investigation of structure failure of flexural and shear failure is required. An effective tool to detect failure is necessary. This paper proposed a static stress estimation method using digital image correlation (DIC) for the shear behavior of Z-push off specimens made of 100% recycled aggregate concretes. The ...
نوع الوثيقة: article in journal/newspaper
وصف الملف: application/pdf
اللغة: unknown
Relation: http://www.ojs.kmutnb.ac.th/index.php/kjournal/article/view/5089/4587; http://www.ojs.kmutnb.ac.th/index.php/kjournal/article/downloadSuppFile/5089/1417; http://www.ojs.kmutnb.ac.th/index.php/kjournal/article/view/5089
DOI: 10.14416//j.kmutnb.2022.10.007
الاتاحة: http://www.ojs.kmutnb.ac.th/index.php/kjournal/article/view/5089
https://doi.org/10.14416//j.kmutnb.2022.10.007
رقم الانضمام: edsbas.4B3C39F3
قاعدة البيانات: BASE
الوصف
DOI:10.14416//j.kmutnb.2022.10.007